วันจันทร์ที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2556

วันพุธที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

เทียบเคียงวิวาทะและข้อมูลชี้แจงเรื่องน้ำเขื่อน จากนักการเมืองทั้ง 2 ขั้วอำนาจ

  1. อีกฝั่งขั้วอำนาจทางการเมือง ชี้แจงเรื่อง น้ำเขื่อน ใช้ดุลพินิจเทียบเคียงชั่งน้ำหนักกันเอาตามสติปัญญา http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1320221953&grpid=03&catid=03
  2. หมอเหวงกังขา ปชป.กักน้ำในเขื่อนก่อนเปลี่ยนรบ.  http://www.khaosod.co.th/view_newsonline.php?newsid=TVRNeU1ERXlNREkyT1E9PQ==
  3.  น้ำท่วมตอโผล่ระบบวิศวกรรมไม่ทำงานด้วยการเมืองหรือไม่? อย่างไร?  http://www.prasong.com/uncategorized/%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A1%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B9%82%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B9%88-%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%88-%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%A3/
  4. เทียบข้อมูลฝนจากดาวเทียม หาสาเหตุวิกฤตน้ำท่วม 2554

วันอังคารที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

คนหาข่าว

หนังสือพิมพ์ผู้จัดการรายวัน เสนอข่าวสาร สาระทางการเมือง ตลาดเงิน ตลาดทุน การตลาด อุตสาหกรรม ชุมชน บันเทิง ข่าวต่างประเทศ วิเคราะห์ข่าว ธรรมะ สรุปข่าวจากหนังสือพิมพ์ผู้จัดการรายวัน ผู้จัดการรายสัปดาห์ และอ่านข่าวฉบับย้อนหลังได้ 30 วัน
http://www.manager.co.th

เดลินิวส์
หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ หนังสือพิมพ์รายวัน เสนอข่าวสาร การเมือง เศรษฐกิจ กีฬา บันเทิง ต่างประเทศ การศึกษา ไอที สิ่งแวดล้อม เกษตร ภูมิภาค สังคม สตรี บันเทิงและบริการ
http://www.dailynews.co.th

ไทยรัฐ
หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ หนังสือพิมพ์รายวัน รายงานข่าว เหตุการณ์บ้านเมืองของไทยทุกแง่มุม รวดเร็ว อ่านข่าวฉบับปัจจุบัน และย้อนหลัง
http://www.thairath.co.th

ข่าวสด
หนังสือพิมพ์ข่าวสด เป็นหนังสือพิมพ์รายวัน เสนอข่าวสาร การเมือง เศรษฐกิจ ต่างประเทศ กีฬา สังคม เยาวชน บันเทิง การศึกษา ฯลฯ
http://www.khaosod.co.th/

คม-ชัด-ลึก
หนังสือพิมพ์รายวัน ในเครือเดอะเนชั่นฯ เริ่มวางตลาดครั้งแรกตั้งแต่วันที่ 16 ตุลาคม 2544 เสนอข่าวสารทั่ว ๆ ไป การเมือง เศรษฐกิจในประเทศ และต่างประเทศ การศึกษา ข่าวต่างประเทศ กีฬา และสถานการณ์ข่าวสารที่น่าสนใจในปัจจุบัน
http://www.komchadluek.net/

สติวเด้นท์วีกลี่ : Student Weekly
หนังสือพิมพ์รายสัปดาห์ ภาษาอังกฤษ ในเครือของ Bangkok Post ครอบคลุมเนื้อหาสำหรับเด็ก ข่าวการศึกษา บันเทิง ข่าวรอบโลก
http://www.student-weekly.com/

เดอะเนชั่น : The Nation
หนังสือพิมพ์เดอะเนชั่น เสนอข่าวสาร การเมือง ธุรกิจ สังคม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี กีฬา ท่องเที่ยว และข่าวบริการ
http://www.nationmultimedia.com

บางกอก โพสต์
หนังสือพิมพ์ บางกอก โพสต์ หนังสือพิมพ์รายวันภาษาอังกฤษ เสนอข่าวสาร ธุรกิจ สังคม การเมือง การศึกษา บันเทิง โดยจะเน้นข่าวสารทางด้านธุรกิจ และเทคโนโลยี
http://www.bangkokpost.com

โพสต์ทูเดย์
หนังสือพิมพ์ธุรกิจ ในเครือบางกอกโพสต์ เสนอข่าวสารทางด้านธุรกิจ การวิเคราะห์เศรษฐกิจในประเทศ และต่างประเทศ การเงิน การเมือง การศึกษา กีฬา และสถานการณ์ข่าวสารในปัจจุบัน
http://www.posttoday.com

กรุงเทพธุรกิจ
หนังสือพิมพ์ธุรกิจ ในเครือบางกอกโพสต์ เสนอข่าวสารทางด้านธุรกิจ การวิเคราะห์เศรษฐกิจในประเทศ และต่างประเทศ การเงิน การเมือง การศึกษา กีฬา และสถานการณ์ข่าวสารในปัจจุบัน
http://www.posttoday.com

กรุงเทพธุรกิจ
หนังสือพิมพ์รายวัน เสนอข่าวสาร สาระ ด้านธุรกิจ เทคโนโลยี การเมือง สังคม การศึกษา บันเทิง ฯลฯ
http://www.bangkokbiznews.com

ฐานเศรษฐกิจ
หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ รายงานข่าว วิเคราะห์ข่าวเศรษฐกิจ อ่านข่าวฉบับปัจจุบัน ฉบับย้อนหลัง
http://www.thannews.th.com

บิสซิเนสเดย์
หนังสือพิมพ์ออนไลน์ภาษาอังกฤษ เสนอข่าวสารด้านธุรกิจ การลงทุน หุ้นในประเทศไทย
http://www.biz-day.com

สยามกีฬา
หนังสือพิมพ์ที่เสนอข่าวสาร เกาะติดสถานการณ์ข่าวกีฬา รายงานข่าวกีฬา ผลการแข่งขันกีฬา ประวัติความเป็นมาของกีฬาประเภทต่างๆ วิเคราะห์ข่าวกีฬา และลิงค์เว็บไซต์กีฬาอื่น ๆ ที่น่าสนใจ
http://www.siamsport.co.th

สยามรัฐ
หนังสือพิมพ์สยามรัฐ หนังสือพิมพ์รายวัน เสนอข่าวการเมือง เศรษฐกิจ อาชญากรรม ภูมิภาค การศึกษา-วิทยาการ บันเทิง กีฬา และข่าวต่างประเทศ
http://www.siamrath.co.th

แนวหน้า
เสนอข่าวสารเหตุการณ์ปัจจุบัน บทวิเคราะห์ข่าว ข่าวการเมือง เศรษฐกิจ อาชญากรรม ธุรกิจ เกษตร บันเทิง ภูมิภาค และข่าวประกาศทั่ว ๆ ไป พร้อมข้อมูลข่าว 7 ฉบับย้อนหลัง
http://www.naewna.com

ไอโนว์ => คลังข้อมูลข่าวสารแห่งแรกของไทย
เว็บไซต์ iKnow ไอโนว์ => คลังข้อมูลข่าวสารแห่งแรกของไทย รวบรวมข่าวสารออนไลน์จากกว่า 30 สำนักข่าวชั้นนำทั่วไทย อัพเดทข้อมูลล่าสุดทุกวันตลอด 24 ชม. ด้วยเทคโนโลยี RSS (Really Simple Syndicate) สะดวก รวดเร็ว รอบรู้ ทันข่าว ทันเหตุการณ์ตลอดเวลา เพียงเปิดเว็บไอโนว์เว็บเดียวเท่านั้น รีบคลิ๊กไปที่ http://www.tarad.com/iknow
http://www.tarad.com/iknow

iKnow ไอโนว์ => ตลาดข่าวออนไลน์อัพเดท 24 ชม.
เว็บไซต์ iKnow ไอโนว์ => แหล่งรวบรวมข่าวสารออนไลน์จากกว่า 30 สำนักข่าวชั้นนำทั่วไทย อัพเดทข้อมูลล่าสุดทุกวันตลอด 24 ชม. ด้วยเทคโนโลยี RSS (Really Simple Syndicate) เพียงเปิดเว็บไอโนว์เว็บเดียวเท่านั้น ไม่ต้องเสียเวลาเปิดเว็บข่าวหลายๆเว็บ สะดวก รวดเร็ว รอบรู้ ทันข่าว ทันเหตุการณ์ตลอดเวลา รีบคลิ๊กไปที่ http://www.iknowmart.com
http://www.iknowmart.com

WiseKnow.Com เว็บความรู้การตลาดแห่งแรกของไทย
เป็นศูนย์รวมความรู้ทางการตลาดและอื่นๆอีกมากมาย อาทิ ข้อมูลข่าวสาร บทความ บทวิจัย บล็อก เว็บบอร์ด ฟีดข่าว หนังสืออีเล็คโทรนิค โปรแกรม รูปภาพ ผลิตภัณฑ์ และบริการต่างๆ อันเป็นประโยชน์ต่อสมาชิกในสังคมอุดมปัญญาแห่งนี้
http://www.wiseknow.com

qoman
ข่าวใหญ่ รวมข่าวออนไลน์ สดใหม่ทกวันไม่ว่าจะเป็น ข่าวประเภทไหน ถูกใจคนทุกวัย อัพเดท 24ชั่วโมง ทันเหตุการณ์ ทันข่าว
http://www.thaibignews.com/

เกาะติดข่าวร้อน ทันเหตุการณ์
นำเสนอข่าวออนไลน์ ใหม่ สด ทันเหตุการณ์ สรุปข่าวหนังสือพิมพ์ ข่าวด่วน ข่าวบันเทิง ข่าวการเมือง
http://www.2tik.com

DailyXpress
The one and only English entertainment website in Thailand. Including sections Magazine , Model , Photo , VDO Clips , MOVIE and more.
http://www.dailyxpress.net

สยามยูเอสรีดเดอร์
หนังสือพิมพ์ไทยในอเมริกา ราย 10 วัน บทความจากผู้ทรงคุณวุฒิ เขียนตรงจากอเมริกา
http://www.siamusreader.com

ข่าวออนไลน์ :: Jerder.com
เสนอข่าวออนไลน์เป็นภาษาไทย สรุปข่าวตามสื่อต่างๆ ข่าวด่วน ข่าวร้อน ข่าวบันเทิง ดารา ข่าวการเมือง ข่าวเศรษฐกิจ และข่าวต่างประเทศ
http://www.jerder.com

xiwaedp gjykzia
izbl kvjpos alzwtcog cedhzuayv zdbiel lyhnduzcw uhpdgcol
http://www.gmybjsn.gepantiq.com

thaitownusa.com
Thai Newspaper in Los Angeles,CA
http://www.thaitownusa.com

หาข่าว.คอม
เกาะติดข่าวด่วน ข่าวการเมือง ข่าวอาชญากรรม ข่าวบันเทิง ข่าวกีฬา ข่าวเศรษฐกิจ ข่าวสังคม ข่าวต่างประเทศ ข่าวภูมิภาค ข่าวท่องเที่ยว ข่าวการศึกษา ตลอด 24ชั่วโมงจากแหล่งข่าว ชั้นนำ ไทยรัฐ เดลินิวส์ ข่าวสด มติชน กรุงเทพธุรกิจ คมชัดลึก ฐานเศรษฐกิจ หนังสือพิมพ์ผู้จัดการ ผู้จัดการออนไลน์
www.haanews.com

หนังสือพิมพ์บันเทิง มายาแชนแนล
มายาแชนแนล|มายาชาแนล หนังสือพิมพ์บันเทิง ข่าวด่วน ข่าวบันเทิง วงการบันเทิง ข่าวซุบซิบ ดารานักร้อง นักแสดง
http://www.mayachannel.net

ข่าวอสังริมทรัพย์
ข่าวอสังริมทรัพย์
http://realestate.kodded.com/

cheap laptops
cheap laptops ,New cheap laptops
http://cheaplaptops2u.com

Bangkok TimeSaver
Bangkok Timesaver is the definitive guide for everyone who wishes to publish their businesses in English which contains all their information, also on allied services and entertainment in Bangkok.
http://www.bangkoktimesaver.com

http://http://www.norsorpor.com/
ระทึก!ชายขี้เมาสหรัฐฯพยายามเปิดประตูเครื่องบินกลางเวหา
http://http://www.norsorpor.com/

สยามวิเคราะห์ หนังสือพิมพ์สยามวิเคราะห์ วิเคราะห์ข่าว ข่าวต่างประเทศ
สยามวิเคราะห์ หนังสือพิมพ์สยามวิเคราะห์ วิเคราะห์ข่าวไม่ว่าจะเป็นข่าวกีฬา ข่าวการเมือง ข่าวเศรษฐกิจ
http://www.siamwikroa.com/

ข่าวด่วนวันนี้
ข่าวด่วนวันนี้กับเรา News.Siam55.com ทุกเรื่องที่เป็นข่าว เราจะนำมาโพสไว้ให้แฟนๆได้อ่าน อย่าลืมแวะเข้ามาอัพเดทบ่อยๆ นะครับ ยินดีต้อนรับทุกท่านครับ อ่านข่าวแล้วอย่าลืมเม้นท์กันบ้างนะครับ
http://news.siam55.com/

หนังสือพิมพ์
หนังสือพิมพ์ หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ข่าวสด เดลินิวส์ อ่านหนังสือพิมพ์
http://www.mzeed.com/%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%9E%E0%B8%

ค้นหาข่าว

ผู้จัดการ ออนไลน์

วันเสาร์ที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2554

บันทึกลำดับปีเหตุการณ์น้ำท่วมกรุงเทพฯ

ลำดับปีน้ำท่วมกรุงเทพ
พ.ศ.2485
          เกิดน้ำท่วมใหญ่ในกรุงเทพฯ เนื่องจากฝนตกหนักอย่างต่อเนื่อง ทำให้ระดับน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยามีระดับสูงมาก ไหลล้นคันกั้นน้ำทั้งสองฝั่งแม่น้ำตลอดแนว ซึ่งวัดระดับน้ำท่วมที่สะพานสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯ ได้ 2.27 เมตร นับว่าเป็นเหตุการณ์น้ำท่วมที่รุนแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ ก่อนที่จะมีการสร้างเขื่อนขนาดใหญ่อย่างเขื่อนภูมิพล และเขื่อนสิริกิติ์ เพื่อมากักเก็บน้ำ

  พ.ศ.2518
          พายุดีเปรสชั่นได้พาดผ่านตอนบนลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ทำให้มีปริมาณน้ำสูงทางภาคกลางตอนบน จนเป็นเหตุให้น้ำไหลทะลักเข้าท่วมกรุงเทพมหานคร

  พ.ศ.2521
          พายุลูกใหญ่  2 ลูก คือ "เบส" และ "คิท" ได้พาดผ่านพื้นที่ตอนบนลุ่มน้ำปริมาณสูง รวมไปถึงปริมาณน้ำจากแม่น้ำป่าสักไหลบ่าเข้าท่วมเป็นจำนวนมาก ทำให้ด้านตะวันออกของกรุงเทพมหานครถูกน้ำท่วมไปโดยปริยาย

  พ.ศ.2523
          ปริมาณน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยา ทวีระดับความสูงขึ้นเรื่อย ๆ จนที่สะพานสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯ 2.00 เมตร ระดับน้ำสูงกว่าระดับน้ำทะเลถึง 2 เมตร ประกอบกับมีฝนตกในพื้นที่กรุงเทพมหานครถึง 4 วัน 4 คืน ทำให้เกิดน้ำท่วมขังในหลายพื้นที่

  พ.ศ.2526
          พายุหลายลูกพัดผ่านเข้าภาคเหนือ และภาคกลางในช่วง กันยายน - ตุลาคม ทำให้น้ำท่วมในครั้งนี้ถือว่ารุนแรงมากอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งวัดปริมาณฝนตลอดทั้งปีได้ 2119 มม. จากค่าฝนเกณฑ์เฉลี่ยอยู่ที่ 1,200 มม. ส่งผลให้กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล น้ำท่วมเป็นเวลานานที่สุดถึง 4 เดือน ประเมินความเสียหายสูงถึง 6,598 ล้านบาท

  พ.ศ.2529
          ฝนตกหนักติดต่อกันหลายวัน ที่กรุงเทพฯในหลายพื้นที่ ทำให้เกิดน้ำท่วมฉับพลัน โดยเฉพาะที่เขตราษฎร์บูรณะ ถนนวิภาวดีตั้งแต่ช่วงสะพานลอยเกษตรเข้าไป ย่านถนนสุขุมวิท ย่านรามคำแหง ย่านบางนา ทำให้การจราจรติดขัดมาก แต่อย่างไรก็ดี ในครั้งนั้นอยู่ในช่วงที่น้ำทะเลไม่ได้หนุน ทำให้มีการระบายน้ำออกเป็นไปอย่างรวดเร็ว

  พ.ศ.2533
          เดือนตุลาคม พายุโซนร้อน "อีรา" และ "โลล่า" ได้พัดผ่านภาคตะวันออกเฉียงเหนือทางจังหวัดบุรีรัมย์, สุรินทร์ ทางภาคตะวันออกและภาคกลาง ทำให้ฝนตกหนักที่กรุงเทพมหานครถึง 617 มม. เลยทีเดียว ส่งผลให้เกิดน้ำท่วมขังสูงประมาณ 30-60 ซม.  ในหลายพื้นที่ ทั้งบริเวณเขตมีนบุรี, หนองจอก, บางเขน, ดอนเมือง, บางกะปิ, พระโขนง, ลาดกระบัง, ลาดพร้าว, บึงกุ่ม และปริมณฑล โดยน้ำท่วมขังเป็นเวลานานกว่า 1 เดือน ประเมินความเสียหายสูงถึง 177  ล้านบาท

  พ.ศ.2537
          พายุฝนฤดูร้อน ถล่มกรุงเทพมหานคร และปริมณฑลเมื่อวันที่  7 และ 8 พฤษภาคม 2537 ทำให้เกิดน้ำท่วมฉับพลันที่บริเวณถนนจันทร์ เขตยานนาวา ถนนพหลโยธิน ตั้งแต่ย่านสะพานควาย ถนนประดิพัทธ์ สวนจตุจักร ถึงอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ซอยสุทธิสารตลอดทั้งซอย รวมไปถึง ถนนวิภาวดีรังสิตและรัชดาภิเษก ถนนลาดพร้าว ถนนสุขุมวิท ตั้งแต่ย่านพระโขนง จนถึงอำเภอสำโรง จังหวัดสมุทรปราการ ส่วนถนนสาธร โดยเฉพาะซอยเซ็นต์หลุยส์ มีน้ำท่วมขังมากที่สุดประมาณ 50 ซม. และจากเหตุการณ์น้ำท่วมในครั้งนี้ ส่งผลให้การจราจรของกรุงเทพมหานครเป็นอัมพาต เกิดไฟฟ้าดับหลายจุด สร้างความเดือดร้อนทั่วทุกพื้นที่


เหตุการณ์น้ำท่วม กรุงเทพมหานคร พ.ศ.2538


เหตุการณ์น้ำท่วม กรุงเทพมหานคร พ.ศ.2538

พ.ศ.2538
          พายุหลายลูก ได้พัดผ่านทั้ง ภาคเหนือ ภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเฉพาะพายุโอลิส ที่ถล่มกระหน่ำ ทำให้เกิดในตกหนักอย่างต่อเนื่องหลายวัน ส่งผลให้ระดับน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยามีระดับสูง โดยวัดที่สะพานสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯ เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2538 มีค่าระดับสูงถึง 2.27 เมตร (รทก.) ซึ่งสูงสุดเป็นประวัติการณ์

          คันกั้นน้ำริมสองฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาถูกน้ำทะลักเข้าท่วมพื้นที่ระดับสูงถึง 1 เมตร โดยเฉพาะบริเวณถนนจรัลสนิทวงศ์ เขตบางพลัด บางกอกน้อย และถนนเจริญกรุง เขตคลองสาน รวมระยะเวลาน้ำท่วมประมาณ 2 เดือน  สร้างความเดือดร้อนแก่ประชาชนเป็นอย่างมาก การคมนาคมเป็นไปอย่างยากลำบาก ต้องอาศัยเรือในการเดินทาง เพราะเกือบจะทั่วทุกพื้นที่ กลายเป็นคลองไปหมด แทบจะแยกไม่ออกว่า ตรงไหนเป็นน้ำจากแม่น้ำ คลอง หรือน้่ำจากน้ำท่วม

พ.ศ.2539
        มีฝนตกหนักในภาคเหนือและภาคกลางทำให้ปริมาณน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยามีปริมาณมาก ทำให้ระดับน้ำสูงล้นแนวป้องกันน้ำท่วมเข้าท่วมพื้นที่ริมแม่น้ำฝั่งธนบุรี บริเวณถนนจรัลสนิทวงศ์ ถนนเจริญนคร ฝั่งพระนคร บริเวณถนนสามเสนถนนพระอาทิตย์ ซึ่งน้ำได้ท่วมขังกินระยะเวลานาน 2 เดือนเลยทีเดียว ตั้งแต่ พฤศจิกายน -ธันวาคม 2539

พ.ศ.2541
        เหตุการณ์น้ำท่วมในกรุงเทพครั้งนี้ไม่รุนแรงเท่าไร วัดน้ำฝนได้สูงสุดที่สถานีดับเพลิงพญาไท 2541 มม. ส่วนจุดที่น้ำระบายออกได้ช้าที่สุดคือถนนประชาสงเคราะห์ (จากแยกดินแดงยาวตลอดสาย) เขตดินแดงท่วมสูง 20 ซม. นาน 19 ชม. ส่วนระดับน้ำที่ท่วมสูงสุดคือ ถนนเพลินจิต และถนนราชดำริ เขตปทุมวัน ท่วมสูง 20 - 40 ซม. นาน 11 ชม.


พ.ศ. 2554
          ถึงแม้ว่าน้ำจะยังไม่เข้าท่วมกรุงเทพฯ แต่มีความเป็นไปได้สูงมากว่ากรุงเทพฯ จะประสบปัญหาน้ำท่วมเหมือนในปีก่อน ๆ และจะรุนแรงเทียบเท่ากับปี 2538 เลยทีเดียว
          ส่วนสาเหตุน้ำท่วมในกรุงเทพฯ ที่ผ่านมา จะพบว่า กรุงเทพฯ ประสบปัญหาน้ำท่วมขังซ้ำซากเป็นอย่างมาก ซึ่งมาจากหลายสาเหตุ ไม่ว่าจะเป็นสภาพทางภูมิศาสตร์ที่เป็นพื้นที่ราบลุ่ม บวกกับความเจริญทางด้านสังคม เศรษฐกิจ ทำให้พื้นที่ที่เคยเป็น บึง หนอง คลอง ต่างต้องถูกถมทับเพื่อสร้างเป็นตึกรามบ้านช่อง จึงทำให้การระบายน้ำเป็นไปได้อย่างยากลำบาก อีกทั้งปริมาณฝนที่ตกลงมาเกือบจะทุกวัน น้ำเหนือไหลหลาก น้ำทะเลหนุน และแผ่นดินทรุดตัว ...

วันพุธที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2554

คลังข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องน้ำ

คลังข้อมูลเรื่องน้ำ http://tiwrm.haii.or.th/datasummary.html

 
รายงานสภาพภูมิอากาศและสถานการณ์น้ำ
      นำเสนอข้อมูลแบ่งตามรูปแบบของเส้นทางพายุ - การเกิดฝน - ไหลลงแหล่งน้ำ - ผ่านเขื่อน - เส้นทางน้ำ - พื้นที่รับน้ำเข้า ผันน้ำออก - สู่ชุมชนเมือง จนถึงระดับขึ้นลงของน้ำทะเล รวมถึงแบบจำลองเพื่อคาดการณ์และเตือนภัยน้ำท่วม น้ำแล้ง เพื่อให้เกิดการจัดการทรัพยากรน้ำอย่างสมดุล และเมื่อเกิดภัยจากน้ำจะได้รวบรวมความเสียหายที่เกิดขึ้น เพื่อแนวทางในการวางแผนจัดการ ลดความสูญเสีย และแก้ไขฟื้นฟูต่อไป
ข้อมูลพื้นที่ปรับปรุงคาดการณ์

  • เส้นทางพายุ และภาพถ่ายจากดาวเทียม

  • เอเชียตะวันออกเฉียงใต้รายวันทุก 2-4 เดือน

  • ข้อมูลฝนที่ตกในพื้นที่ 

  • ประเทศไทยรายวันรายเดือน

  • ปริมาณและระดับน้ำในเขื่อน

  • พื้นที่รับน้ำ ภาคต่างๆรายวันรายสัปดาห์

  • ปริมาณและระดับน้ำในลุ่มน้ำ เส้นทางน้ำ

  • พื้นที่ลุ่มน้ำ เส้นทางน้ำรายวันรายวัน

  • ปริมาณฝนและระดับน้ำในพื้นที่กทม.

  • ชุมชนเมือง กทม.รายชั่วโมงรายชั่วโมง

  • ความเสียหายที่เกิดขึ้น

  • เป็นรายจังหวัด(ต่อครั้ง)  

  • สรุปเหตการณ์น้ำท่วม

  •    
     
    รายงานข้อมูลน้ำรายสัปดาห์
    ฉบับล่าสุด (9-15 มี.ค. 54)
     

                    สัปดาห์นี้บริเวณตอนบนของประเทศปริมาณฝนลดลงจากสัปดาห์ที่แล้ว ส่วนภาคใต้มีปริมาณฝนเพิ่มมากขึ้น โดยมีฝนมากบริเวณจังหวัดสงขลา พังงา นราธิวาส พัทลุง นครศรีธรรมราช ชุมพร ด้านปริมาณน้ำกักเก็บทั้งประทศ อยู่ที่ 40,879 ล้านลูกบาศก์เมตร ลดลงจากสัปดาห์ที่แล้ว 926 ล้านลูกบาศก์เมตร ..
    อ่านต่อ...



    รายงานย้อนหลัง



    เส้นทางพายุ และภาพถ่ายจากดาวเทียม
    ชมและค้นหาภาพพายุหมุนในอดีต
    ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2494 จนถึงปัจจุบัน
    [คำแนะนำ]  [ชมพายุ]

    สถานภาพพายุในมหาสมุทรแปซิฟิก ที่เข้าใกล้ประเทศไทย 
    ขณะนี้ : 
    ภาพถ่ายล่าสุด จากดาวเทียม GOES9     
       
    ชมภาพในช่วงที่ผานมา เป็นภาพยนตร์ Mpeg
    จัดทำโดย มหาวิทยาลัยโคชิ
    แผนที่อากาศสำหรับ ประเทศไทยวันนี้ 
    จัดทำโดย กรมอุตุนิยมวิทยา

    แผนที่วิเคราะห์เส้นทาง และความแรงของพายุ
    สรุปรวมพายุ ในปี 2553,2552255125502549,2548254725462545,25442543จัดทำโดยมหาวิทยาลัยฮาวาย

    แผนที่วิเคราะห์เส้นทาง และความแรงของพายุ ในมหาสมุทรแปซิฟิกจัดทำโดย University College London

    แผนที่วิเคราะห์เส้นทาง และความแรงของพายุ ในมหาสมุทรอินเดียจัดทำโดย University College London
      

    แผนที่ความกดอากาศ ที่ระดับความสูง 0.6 และ 1.5 กม 

    แผนที่ลม ที่ระดับความสูง 0.6 และ 1.5 กม.  
    จัดทำโดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน)
    แผนภาพอุณหภูมิผิวน้ำทะเล
    ประเทศไทย
       
    มหาสมุทรอินเดีย
       
    ทั่วโลก
       

    จัดทำโดย Ocean Weather inc.
    ความสูงและทิศทางของคลื่นทะเล
    ประเทศไทย
       
    มหาสมุทรอินเดีย
       
    แปซิฟิคเหนือ
       
    ทั่วโลก
       
    จัดทำโดย Ocean Weather inc. 

    ค่าเบี่ยงเบนความสูงระดับน้ำทะเล
    จากดาวเทียม Jason-1 GFO และ ENVISAT
    ทั่วโลก  
    ข้อมูลโดย Aviso
      
    แผนภาพการเปลี่ยนแปลงรายเดือนของอุณหภูมิผิวน้ำทะเล เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงฤดูกาล แสดงราย 2 สัปดาห์     แสดงเป็นรายเดือน

    จัดทำโดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน)
    แผนภาพการเปลี่ยนแปลงรายสัปดาห์ของค่าเบี่ยงเบนความสูงระดับน้ำทะเล แสดงการเคลื่อนตัวของความกดอากาศ พายุ และกระแสน้ำ    
    จัดทำโดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน)
    แผนภาพการศึกษาการเกิดพายุด้วยข้อมูลค่าเบี่ยงเบนความสูงระดับน้ำทะเล    
    จัดทำโดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) 
      
         
        [ดิจิทัลไต้ฝุ่น]    ชมผลงานวิจัยที่ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งรวบรวมภาพถ่ายของพายุไต้ฝุ่นในอดีตเพื่อช่วยในการศึกษา และการทำนายสภาพของไต้ฝุ่นใหม่ๆ ในปัจจุบัน
    ติดตามสถานการณ์น้ำท่วมในประเทศ โดยใช้ ภาพถ่ายดาวเทียม Radarsat-1 ซึ่งสามารถถ่ายทะลุเมฆได้ และภาพจากดาวเทียมLandsat และ IRS
         (ข้อมูลปรับปรุงทุกวัน โดย สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศ และภูมิสารสนเทศ)
    กลับไปหน้าแรก..

     
    ข้อมูลฝนที่ตกในพื้นที่

    แผนภาพการคาดการณ์ฝนล่วงหน้า 7 วัน
      
    จัดทำโดย HAMweather
         

    แผนภาพการคาดการณ์ฝนล่วงหน้า 7 วัน


    Precipitaion Forecasts 
    Wind Forecasts 
    จัดทำโดยสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน)


    ระบบเครือข่ายเรดาร์
    สถานภาพของประเทศไทยล่าสุดจากระบบเครือข่ายเรดาร์ของกรมอุตุนิยมวิทยา.

    เรดาร์ที่เชียงใหม่
    รัศมี 240 กม.

    แสดงเวลาเป็น GMT
       
    เรดาร์ที่เชียงใหม่
    รัศมี 120 กม.

    แสดงเวลาเป็น GMT
       
    เรดาร์ที่เชียงราย
    รัศมี 240 กม.

    แสดงเวลาเป็น GMT
       
    เรดาร์ที่พิษณุโลก
    รัศมี 240 กม.


    แสดงเวลาเป็น GMT
       
    เรดาร์ที่ขอนแก่น
    รัศมี 240 กม.

    แสดงเวลาเป็น GMT
       
    เรดาร์ที่สกลนคร
    รัศมี 240 กม.


    แสดงเวลาเป็น GMT
       
    เรดาร์ที่อุบลราชธานี รัศมี 240 กม.

    แสดงเวลาเป็น GMT
       
    เรดาร์ที่อุบลราชธานี
    รัศมี 120 กม.


    แสดงเวลาเป็น GMT
       
       
    เรดาร์ที่หัวหิน
    รัศมี 240 กม.

    แสดงเวลาเป็น GMT
       
    เรดาร์ที่ดอนเมือง
    รัศมี 240 กม.

    แสดงเวลาเป็น GMT
       
    เรดาร์ที่ดอนเมือง
    รัศมี 120 กม.

    แสดงเวลาเป็น GMT
       
    เรดาร์ที่ดอนเมือง
    รัศมี 60 กม.

    แสดงเวลาเป็น GMT
       

    เรดาร์ที่สุวรรณภูมิ
    รัศมี 240 กม.

    แสดงเวลาเป็น GMT
       
    เรดาร์ที่ระยอง
    รัศมี 240 กม.

    แสดงเวลาเป็น GMT
       

    เรดาร์ที่ชุมพร
    รัศมี 240 กม.


    แสดงเวลาเป็น GMT
       
    เรดาร์ที่สุราษฎร์ธานี
    รัศมี 240 กม..

    แสดงเวลาเป็น GMT
       
    เรดาร์ที่ภูเก็ต
    รัศมี 240 กม.

    แสดงเวลาเป็น GMT
       
    เรดาร์ที่ภูเก็ต
    รัศมี 120 กม.

    แสดงเวลาเป็น GMT
       
    เรดาร์ที่กระบี่
    รัศมี 240 กม.

    แสดงเวลาเป็น GMT
       
    เรดาร์ที่สงขลา
    รัศมี 240 กม.

    แสดงเวลาเป็น GMT
       

    สถานภาพของประเทศไทยล่าสุดจากระบบเครือข่ายเรดาร์ของสำนักงานฝนหลวง
      
    เรดาร์ที่อมก๋อย
    รัศมี 240 กม.

    แสดงเวลาท้องถิ่น
       
     
    เรดาร์ที่พิมาย
    รัศมี 160 กม.

    แสดงเวลาท้องถิ่น
       
    เรดาร์ที่ชะอำ
    รัศมี 240 กม.

    แสดงเวลาท้องถิ่น
        
    เรดาร์ที่สัตหีบ
    รัศมี 240 กม.

    แสดงเวลาท้องถิ่น
        
    สถานภาพของกรุงเทพมหานครล่าสุดจากระบบเครือข่ายเรดาร์ของสำนักการระบายน้ำกรุงเทพมหานคร
    เรดาร์ภาษีเจริญ
    รัศมี 60 กม.

    แสดงเวลาเป็น GMT
       


      แผนภาพฝนสะสมรายวันจัดทำโดย 
    สถาบันวิจัยทหารเรืออเมริกา

                 
      คลิ๊กบนภาพ เพื่อเข้าชมข้อมูลจาก
    สถานีตรวจวัดอากาศ 

    จำนวน 118 สถานี ทั่วประเทศไทย
    (ปรับปรุงข้อมูลทุกวัน)

    ข้อมูลจาก กรมอุตุนิยมวิทยา
     แผนภาพแสดงการ
    กระจายตัวของ
    ปริมาณฝนเฉลี่ย 48 ปี
    ย้อนหลัง 
    (ตั้งแต่ พ.ศ. 2493-2540 )
    ของเดือน

    ดูของแต่ละเดือน  ดูรวมทั้งปี  ของลุ่มเจ้าพระยาทั้งหมด
      สถานีตรวจอากาศอัตโนมัติ
    (ปรับปรุงข้อมูลทุกชั่วโมง)
    ภาคกลาง
    ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
    ภาคเหนือ
    ภาคใต้
    ด้วยความร่วมมือจากกรมชลประทาน,บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) 
    กลับไปหน้าแรก..

     
    ปริมาณและระดับน้ำในเขื่อน

      รายงานสภาพของเขื่อน เพื่อการผลิตพลังงานไฟฟ้าในประเทศไทย
    (ปรับปรุงข้อมูลทุกวัน)
    ข้อมูลจาก การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
      รายงานสภาพของเขื่อน 
    เพื่อการเก็บรักษาน้ำในประเทศไทย
    แผนภูมิเปรียบเทียบระหว่างเขื่อน
    ปริมาณน้ำไหลลง ปี 2554
    ปริมาตรเก็บกัก ปี 2554
    ปริมาณน้ำระบาย ปี 2554
    (ปรับปรุงข้อมูลทุกวัน)
    ข้อมูลจาก กรมชลประทาน
      ข้อมูลระดับน้ำในเขื่อนต่างๆที่ผ่านมา(ปรับปรุงข้อมูลทุกวัน)
    เขื่อนภูมิพล ย้อนหลัง 8 ปี
    เขื่อนสิริกิติ์ ย้อนหลัง 8 ปี
    เขื่อนศรีนครินทร์ ย้อนหลัง 8 ปี
    เชื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ย้อนหลัง 4 ปี
    เขื่อนเจ้าพระยา ย้อนหลัง 4 ปี 
    ข้อมูลจากกรมชลประทาน
      รายงานสภาพของอ่างเก็บน้ำขนาดกลาง เพื่อการเก็บรักษาน้ำในประเทศไทย
    (ปรับปรุงข้อมูลทุกวัน)
    ข้อมูลจาก กรมชลประทาน
    กลับไปหน้าแรก..

     
    ปริมาณและระดับน้ำในลุ่มน้ำ เส้นทางน้ำ

      รายงานสภาพน้ำในลุ่มน้ำเจ้าพระยา แสดงปริมาณการ ปล่อยน้ำออกสู่ลำน้ำ
    (ปรับปรุงข้อมูลทุกวัน)
    ข้อมูลจาก กรมชลประทาน
      สภาพน้ำจากสถานีโทรมาตรขนาดใหญ่
    แสดงข้อมูลปริมาณฝนและระดับน้ำ
    (ปรับปรุงข้อมูลทุกชั่วโมง)
    ลุ่มน้ำเจ้าพระยาลุ่มน้ำจันทบุรี
    ลุ่มน้ำลำปาวลุ่มน้ำเพชรบุรี
    ลุ่มน้ำป่าสักลุ่มน้ำท่าตะเภา
    ลุ่มน้ำมูลลุ่มน้ำมูลตอนบน
    ลุ่มน้ำปากพนังลุ่มน้ำบางปะกง
    ข้อมูลจาก กรมชลประทาน สถานการณ์น้ำแม่น้ำโขง
    ข้อมูลจาก กรมทรัพยากรน้ำ
    ลุ่มน้ำแม่กลอง
    ข้อมูลจาก การไฟฟ้าฝ่ายผลิต
     แสดงข้อมูลปริมาณน้ำท่า ระดับน้ำท่า รวมทั้งข้อมูลสถิติสถานี
    (ปรับปรุงข้อมูลทุกวัน)
    ข้อมูลจาก กรมชลประทาน

    แบบจำลองคำนวณระดับน้ำและอัตราการไหลในแม่น้ำเจ้าพระยา จากสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย และ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ 
    กลับไปหน้าแรก..

     
    ปริมาณฝนและระดับน้ำในพื้นที่กทม.

      รายละเอียดข้อมูลปริมาณฝน ที่จุดต่างๆ บนแผนที่กรุงเทพ
    (ปรับปรุงข้อมูลทุก 15 นาที)
    ข้อมูลจาก กรุงเทพมหานคร
      รายละเอียดข้อมูลระดับน้ำ ที่จุดต่างๆ บนแผนที่กรุงเทพ
    (ปรับปรุงข้อมูลทุกชั่วโมง)
    ข้อมูลจาก กรุงเทพมหานคร
     รายละเอียดข้อมูลระดับน้ำทะเลตรวจวัดและค่าพยากรณ์
    ข้อมูลจากกรมอุทกศาสตร์กองทัพเรือและกรมการขนส่งทางน้ำและพาณิชย์นาวี
    กลับไปหน้าแรก..



     
    บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วม
    ปี 2554

  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมบริเวณภาคใต้ (4-9 มกราคม 2554)


  • ปี 2553

  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมบริเวณภาคใต้ (26 พฤศจิกายน - 7 ธันวาคม 2553)


  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมบริเวณภาคใต้ ( ต้นเดือนพฤศจิกายน 2553)


  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมบริเวณภาคกลาง(ตุลาคม 2553)


  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมบริเวณภาคตะวันออก (ตุลาคม 2553)


  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ตุลาคม 2553)


  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมบริเวณภาคเหนือ (ตุลาคม 2553)


  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมบริเวณจังหวัดกาญจบุรี ราชบุรี เพชรบุรี (1-5 ตุลาคม 2553)


  • บันทึกเหตุการณ์ปริมาณน้ำไหลผ่านเขื่อนเจ้าพระยามากว่าค่ายจิรประวัติ (กันยายน 2553)


  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมบริเวณภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนื อ ภาคกลางและภาคตะวันออก (กันยายน 2553)


  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือและผลกระทบจากพายุ "มินดอลเล" (สิงหาคม 2553)


  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมจังหวัดน่าน ( 17-18 กรกฎาคม 2553)



  • ปี 2552
  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้ ( 18-25 พฤศจิกายน 2552)


  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้ ( 3-8 พฤศจิกายน 2552)


  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมภาคกลาง (ตุลาคม 2552)


  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมบริเวณถนนศรีนครินทร์ (12-15 ตุลาคม 2552)


  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมจากพายุ "กีสนา" (30 กันยายน - 1 ตุลาคม 2552)


  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษและอุบลราชธานี (กันยายน 2552)


  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมพื้นที่ อ.แม่สะเรียง จ.แม่ฮ่องสอน ( 31 สิงหาคม - 1 กันยายน 2552)


  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (สิงหาคม 2552)


  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมพื้นที่จังหวัดระยอง ตราด จันทบุรี (21-22 กรกฎาคม 2552)


  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมพื้นที่จังหวัดพังงา สตูล ตรัง ระนอง (11-13 กรกฎาคม 2552)


  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมพื้นที่จังหวัดแพร่ อุตรดิตถ์ สุโขทัย (17-18 มิถุนายน 2552)



  • ปี 2551
  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมพื้นที่ภาคใต้ช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงกลางเดือนธันวาคม 2551


  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมพื้นที่ตอนบนและตอนกลางของประเทศ ช่วงเดือนตุลาคมถึงพฤศจิกายน 2551


  • บันทึกเหตุการณ์ฝนตกหนักและการเกิดพายุงวงช้างบริเวณจังหวัดระยอง (30 ตุลาคม 2551)


  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมพื้นที่ตอนบนและตอนกลางของประเทศ ช่วงเดือนกันยายน 2551


  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมริมฝั่งแม่น้ำโขง ( 1-15 ส.ค. 51 )


  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วม จ.น่าน ( 18-20 ก.ค. 51 )


  • บันทึกเหตุการณ์พายุไซโคลน "นาร์กีส" ( 28 เม.ย. - 6 พ.ค. 51 )


  • บันทึกเหตุการณ์ฝนตกในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ( 30 ม.ค. 51 )



  • ปี 2550

  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมจังหวัดยะลา นราธิวาส ( ธ.ค.50 )



  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมชุมพรและสุราษฎร์ธานี ( ต.ค.50 )



  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมจากพายุ "เลกิมา" ( ต.ค.50 )



  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วม จ.เพชรบูรณ์ และ จ.เลย ( 10 ก.ย.50 )



  • ปี 2549
  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมภาคกลาง ( ก.ย.- ต.ค.49)


  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมภาคเหนือ ( ส.ค.-ก.ย.49)


  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมเชียงใหม่( ก.ค.49)


  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมภาคเหนือ ( พ.ค.49)

  • ปี 2548
  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้ตอนล่าง ( ธ.ค.48)

  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้ (21-27 ต.ค. 48)

  • บันทึกเหตุการณ์พายุโซนร้อน "ดอมเรย" (25-30 ก.ย. 48)

  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมภาคเหนือ (12-15 ส.ค. 48)

  • บันทึกเหตุการณ์ฝนตกหนัก (13 ก.ค. 48)



  • ปี 2547
  • บันทึกเหตุการณ์พายุหมุ่ยฟ้าในเดือนพฤศจิกายน 2547



  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมภาคเหนือช่วงเดือนกันยายน 2547



  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมภาคเหนือ-ภาคอีสาน ช่วงเดือนกรกฎาคม - สิงหาคม 2547



  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมจากพายุดีเปรสชั่น "จันทู" ในเดือนมิถุนายน 2547



  • บันทึกเหตุการณ์โคลนถล่มภาคเหนือช่วงเดือนพฤษภาคม 2547



  • ปี 2546
  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วม ระหว่างวันที่ 9 ธันวาคม ถึง 12 ธันวาคม 2546



  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมเพชรบุรี ระหว่างวันที่ 13 ตุลาคม ถึง 31 ตุลาคม 2546



  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมภาคกลางในช่วงเดือนกันยายน ถึง ตุลาคม 2546



  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วม ระหว่างวันที่ 1 พฤศจิกายน 2545 ถึง 3 มกราคม 2546



  • ปี 2545

  • บันทึกเหตุการณ์น้ำเต็มเขื่อนภูมิพล (วันที่ 4 – 6 พฤศจิกายน 2545)



  • บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมระหว่างวันที่ 1 กันยายน ถึง 31 ตุลาคม 2545


  • กลับไปหน้าแรก..

     
    บันทึกเหตุการณ์ภัยแล้ง
    ปี 2553
  • สรุปสถานการณ์ภัยแล้งช่วงเดือนพฤศจิกายน 2552 - เมษายน 2553



  • ปี 2548
  • สรุปสถานการณ์ภัยแล้งช่วงเดือนตุลาคม 2547 - เมษายน 2548